วันพฤหัสบดีที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2558

ขั้นตอนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์

Stages Process Steps of New Product Development



The stages or process or steps involved in a new-product development are depicted in the image given below. Click on it to get a zoomed preview.
Stages process steps of new product development
Image credits © Moon Rodriguez.
The eight stages or process or steps involved in the development of a new product are listed and also hyper-linked as follows:
  1. Idea generation.
  2. Idea screening.
  3. Concept testing.
  4. Business analysis.
  5. Product development.
  6. Test marketing.
  7. Commercialization.
  8. Review of market performance.
Now let's discuss each stage in the process of a new-product development.


1. Idea generation



The first step in new-product development is idea generation.
New ideas can be generated by:
  • Conducting marketing research to find out the consumers' needs and wants.
  • Inviting suggestions from consumers.
  • Inviting suggestions from employees.
  • Brainstorming suggestions for new-product ideas.
  • Searching in different markets viz., national and international markets for new-product ideas.
  • Getting feedback from agents or dealers about services offered by competitors.
  • Studying the new products of the competitors.

2. Idea screening



Most companies have a "Idea Committee." This committee studies all the ideas very carefully. They select the good ideas and reject the bad ideas.
Before selecting or rejecting an idea, the following questions are considered or asked:
  1. Is it necessary to introduce a new product?
  2. Can the existing plant and machinery produce the new product?
  3. Can the existing marketing network sell the new product?
  4. When can the new product break even?
If the answers to these questions are positive, then the idea of a new-product development is selected else it is rejected. This step is necessary to avoid product failure.

3. Concept testing



Concept testing is done after idea screening. It is different from test marketing.
In this stage of concept testing, the company finds out:
  • Whether the consumers understand the product idea or not?
  • Whether the consumers need the new product or not?
  • Whether the consumers will accept the product or not?
Here, a small group of consumers is selected. They are given full information about the new product. Then they are asked what they feel about the new product. They are asked whether they like the new product or not. So, concept testing is done to find out the consumers' reactions towards the new product. If most of the consumers like the product, then business analysis is done.

4. Business analysis



Business analysis is a very important step in new-product development. Here, a detailed business analysis is done. The company finds out whether the new product is commercially profitable or not.
Under business analysis, the company finds out...
  1. Whether the new product is commercially profitable or not?
  2. What will be the cost of the new product?
  3. Is there any demand for the new product?
  4. Whether this demand is regular or seasonal?
  5. Are there any competitors of the new product?
  6. How the total sales of the new product be?
  7. What will be the expenses on advertising, sales promotion, etc.?
  8. How much profit the new product will earn?
So, the company studies the new product from the business point of view. If the new product is profitable, it will be accepted else it will be rejected.

5. Product development



At this stage, the company has decided to introduce the new product in the market. It will take all necessary steps to produce and distribute the new product. The production department will make plans to produce the product. The marketing department will make plans to distribute the product. The finance department will provide the finance for introducing the new product. The advertising department will plan the advertisements for the new product. However, all this is done as a small scale for Test Marketing.

6. Test marketing



Test marketing means to introduce the new product on a very small scale in a very small market. If the new product is successful in this market, then it is introduced on a large scale. However, if the product fails in the test market, then the company finds out the reasons for its failure. It makes necessary changes in the new product and introduces it again in a small market. If the new product fails again the company will reject it.
Test marketing reduces the risk of large-scale marketing. It is a safety device. It is very time-consuming. It must be done especially for costly products.

7. Commercialization



If the test marketing is successful, then the company introduces the new product on a large scale, say all over the country. The company makes a large investment in the new product. It produces and distributes the new product on a huge scale. It advertises the new product on the mass media like TV, Radio, Newspapers and Magazines, etc.

8. Review of market performance



The company must review the marketing performance of the new product.
It must answer the following questions:
  1. Is the new product accepted by the consumers?
  2. Are the demand, sales and profits high?
  3. Are the consumers satisfied with the after-sales-service?
  4. Are the middlemen happy with their commission?
  5. Are the marketing staffs happy with their income from the new product?
  6. Is the Marketing manager changing the marketing mix according to the changes in the environment?
  7. Are the competitors introducing a similar new product in the market?
The company must continuously monitor the performance of the new product. They must make necessary changes in their marketing plans and strategies else the product will fail.
ที่มา:http://kalyan-city.blogspot.com/2012/02/stages-process-steps-of-new-product.html#Review_of_market_performancehttp://www.slimshape.16mb.comhttp://www.slimshape.16mb.com

ความหมายและความสำคัญของการออกแบบกราฟฟิก

วามเป็นมาและความหมายของงานกราฟิก 
     งานกราฟิกมีบทบาทต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ ดังตัวอย่างที่พบ คือ ภาพวาดบนผนังถ้ำของมนุษย์โบราณ ที่แสดงออกถึงพิธีกรรมหรือกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การล่าสัตว์ การบวงสรวง จำนวนและชนิดของสัตว์ ในปัจจุบันสังคมมนุษย์ได้ใช้งานกราฟิกในเกือบทุกกิจกรรม เช่น การศึกษา การออกแบบการทดลอง การนำเสนอข้อมูลการแสดงออกทางศิลปะ การโฆษณาผลิตภัณฑ์ ภาพยนตร์และด้วยความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลทำให้การสร้างและใช้งานกราฟิกสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก งานกราฟิกจึงมีความสำคัญและมีบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์การสื่อความหมายระหว่างมนุษย์เป็นกิจกรรมทางสังคมของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ มนุษย์รู้จักใช้เครื่องมือที่เป็นสัญลักษณ์สื่อความหมายและมีความแตกต่างกันตามความเจริญของสังคมมนุษย์ในแต่ละยุคสมัยมนุษย์ยุคเริ่มแรกยังไม่มีภาษาและสัญลักษณ์จึงใช้ของจริงและสภาวะจริงรอบตัวในการสื่อความหมายต่อกันเช่น 
การบอกแหล่งอาศัยของสัตว์ จะใช้วิธีวิ่งนำหน้าเพื่อนไปยังแหล่งที่มีสัตว์อยู่แล้วชี้ให้เห็นวิธีการนี้จะยุ่งยากและเยิ่นเย้อ  เพราะไม่มีสัญลักษณ์หรือเครื่องมือช่วยย่อให้กระบวนการสื่อความหมายสั้นและกระชับจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ พบว่า เมื่อประมาณล้านปีมาแล้ว มนุษย์โฮโมอีเร็คทุส (Homo Erectus) ซึ่งจัดอยู่ในประเภทสัตว์ลำตัวตั้งตรง ยังไม่มีภาษาใช้  ได้ใช้ท่าทางและสิ่งของตามธรรมชาติ เช่น ก้อนหิน กิ่งไม้ และกระดูกสัตว์ต่าง ๆ เป็นสัญลักษณ์สื่อความหมายต่อกัน เช่น 
การสื่อความหมายถึงแหล่งล่าสัตว์ชนิดใดจะทำโดยการยกชูกระดูกของสัตว์ชนิดนั้น แล้วชี้ไปยังทิศทางที่มีสัตว์ชนิดนั้นอาศัยอยู่ 



     เมื่อประมาณแสนปีมาแล้ว เผ่าพันธุ์ของมนุษย์ในยุคปัจจุบัน หรือที่เรียกว่า โฮโมซาเปี้ยน (Homo Sapiens) รู้จักรวมกันเป็นกลุ่มอาศัยในถ้ำ ได้ใช้สีตามธรรมชาติเขียนลายเส้นบนหน้าตาและร่างกายเพื่อเป็นเครื่องหมายสื่อความหมายบอกบทบาท บอกหมู่เหล่า ลายเส้นบนเครื่องมือบอกวิธีใช้้และความเป็นเจ้าของและเขียนภาพเหมือนของคน สัตว์ และสิ่งของบนผนังถ้ำ เพียงการชี้ไปยังภาพบนผนังถ้ำก็จะสื่อความหมายต่อกันได้ว่า สัตว์ชนิดใด ใช้อาวุธอะไร ใช้คนเท่าไร
 ทำให้การล่าสัตว์ทำได้ดีขึ้นและปลอดภัยมากขึ้น ภาพเหล่านี้ช่วยให้การสื่อความหมายทำได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น สามารถใช้อธิบายและสื่อความหมายเป็นเรื่องราวและเป็นพื้นฐานในการวิวัฒนาการมาเป็นภาษาพูดและภาษาเขียนในสมัยต่อมา 

กราฟิกและโปรแกรมวาดภาพ       โปรแกรมเพนต์ เป็นโปรแกรมที่จัดอยู่ในกลุ่มของโปรแกรมวาดภาพ ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สนับสนุนเพิ่มเติมของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ทุกรุ่นไม่ว่าจะเป็นวินโดวส์ 95/98/ME/2000/XP โปรแกรมเพนต์เป็นโปรแกรมใช้สำหรับวาดภาพที่ทำให้ผู้ใช้สามารถวาดภาพง่าย ๆ หรือนำภาพที่มีอยู่แล้วไม่ว่าจะได้มากจากดาวน์โหลด หรือการสแกนมาตกแต่งใหม่ให้สวยงาม โดยใช้เครื่องมือวาดและการระบายสีต่าง ๆ ที่โปรแกรมเพนต์เตรียมไว้ให้ รวมทั้งการวาดรูปทรงเรขาคณิตต่าง ๆ ภาพที่วาดหรือตกแต่งเสร็จแล้วสามารถนำไปประกอบเอกสารอื่น ๆ ได้ เช่น Word, Excel, PowerPoint และยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการสร้างงานศิลปะอื่น ๆ โปรแกรมเพนต์มีความสามารถในการสร้างภาพอย่างง่าย ไม่ค่อยจะมีรายละเอียดซับซ้อนมากนัก ซึ่งถือได้ว่าเป็นโปรแกรมพื้นฐานสำหรับการวาดภาพ หรือการออกแบบกราฟิกบนคอมพิวเตอร์ที่ผู้เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ควรจะได้ศึกษา ทำความเข้าใจและฝึกใช้งานให้เป็นเบื้องต้น


การสร้างงานศิลปะด้วยโปรแกรม Paint  
ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิก



     คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทสำคัญในการออกแบบกราฟิกมากกว่าเครื่องมือชนิดอื่น ๆ ตั้งแต่ได้มีการประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ (Printing Process) เนื่องจากขั้นตอนสุดท้ายในการออกแบบจะต้องมีการแสดงชิ้นงานออกมาในรูปแบบของการพิมพ์ เช่น ข้อความโฆษณาต่าง ๆ หน้าปกนิตยสาร และอื่น ๆ นักออกแบบจึงเริ่มเปลี่ยนวิธีการทำงาน จากการสเกตซ์ภาพบนแผ่นกระดาษด้วยดินสอสี หรือปากกา กลายเป็นการสร้างชิ้นงานออกมาทางหน้าจอคอมพิวเตอร์      
     การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ สร้างความคิดใหม่ๆ รูปแบบและสีต่างๆ ทำให้การทำงานสะดวกรวดเร็วขึ้น มีการใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการระบายสีและวาดภาพ ซึ่งชื่อของซอฟต์แวร์ต่างๆ มักบอกลักษณะการทำงานของซอฟต์แวร์นั้นๆ เช่น เพนต์บรัช (Paintbrush) โพโตชอป (Photoshop) เพนต์ชอฟโปร (Paintshop Pro) เป็นโปรแกรมระบายสี (Paint Program) ใช้สำหรับตกแต่งภาพ ระบายสีภาพ ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้เหมาะกับการใช้งานกับภาพชนิดบิตแมบ
     ส่วนคอเรลดรอว์ (Corel Draw) อโดบี อลาสเตรเตอร์ (Adobe Illustrator) แมคโครมีเดีย ฟรีแฮนด์ (Macromedia Freehand) เป็นโปรแกรมวาดภาพ (Draw Program) ใช้ในการสร้างภาพ หรือวาดภาพในลักษณะภาพลายเส้น เหมาะกับการใช้งานกับภาพชนิดเวคเตอร์
     ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานกราฟิกสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยทั่วไปได้ โดยมีการเพิ่มเติมอุปกรณ์บางประการให้กับระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผล การนำเข้าข้อมูล การแสดงผลข้อมูลแบบกราฟิก 



ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก
     คอมพิวเตอร์กราฟิก (Computer Graphics) หมายถึง การสร้าง การจัดการ การใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างภาพกราฟิก โดยการนำข้อมูลมาสร้างเป็นภาพ เส้นกราฟ แผนภาพ แผนภูมิ หรืออาจนำภาพมาจากสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพจากเครื่องกราดตรวจ จากกล้องดิจิทัล จากวีดิทัศน์หรือจากภาพยนต์ มาทำการตัดต่อให้เป็นไปตามต้องการ หรือตกแต่งภาพให้ดีขึ้น ภาพกราฟิกเหล่านี้จะประกอบด้วย เส้น สี แสง และเงาต่าง ๆ สามารถแสดงออกมาทางจอภาพหรือพิมพ์ออกมาทางอุปกรณ์ เช่น เครื่องพิมพ์ได้
     นอกจากนี้ยังใช้ในความหมายอื่น เช่น คอมพิวเตอร์วาดภาพ ซึ่งหมายถึง การใช้ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับการวาดภาพสำหรับวาดภาพต่างๆ ในคอมพิวเตอร์




หลักการออกแบบกราฟิกและสื่อ
     การออกแบบกราฟิกและสื่อเป็นขั้นตอนหนึ่งของการสร้างสรรค์งานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการงานกราฟิก งานทางด้านสิ่งพิมพ์ โดยมีหลักการคิดและวิธีการดำเนินการที่ต้องอาศัยแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการสื่อความหมาย  หลักการทางศิลปะประยุกต์และทฤษฎีการรับรู้ทางจิตวิทยา การออกแบบงานกราฟิกจึงต้องกระทำอยู่บนพื้นฐานขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้
     การออกแบบงานกราฟิกและสื่อ ควรจะต้องคำนึงถึงหลักการ ดังนี้
          1.  ความมีเอกภาพ (unity)
          2.  ความกลมกลืน (harmony)
          3.  ความมีสัดส่วนที่สวยงาม (propertion) 
          4.  ความมีสมดุล  (balance)
          5.  ความมีจุดเด่น (emphasis)


องค์ประกอบในการออกแบบงานกราฟิกและสื่อ
     ส่วนสำคัญที่จะสร้างสรรค์ความสุนทรีย์บนงานออกแบบ มีองค์ประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ 
          1. อักษรและตัวพิมพ์               ตัวอักษรจะทำหน้าที่เป็นส่วนแจกแจงรายละเอียดของข้อมูล สาระที่ต้องการนำเสนอด้วยรูปแบบและการจัดวางตำแหน่งอย่างสวยงาม มีความชัดเจน การออกแบบ การเลือกแบบตลอดจนการกำหนดรูปแบบของตัวอักษรที่จะนำมาใช้ ต้องมีลักษณะเด่น อ่านง่าย สวยงาม น่าสนใจ ลักษณะที่แตกต่างของตัวอักษร จึงต้องกำหนดตามสภาวะการนำไปใช้ โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่เป็นหัวเรื่อง หรือชื่อสินค้า จะต้องเน้นความโดดเด่นของรูปแบบมากที่สุดและ
ส่วนที่เป็นข้อความหรือเนื้อหา ที่ต้องการแสดงรายละเอียดต่าง ๆ นิยมใช้ตัวอักษรที่มีรูปแบบเรียบง่ายสะดวกในการอ่านมากที่สุด 
               ในการเลือกใช้ตัวอักษรให้มีความเหมาะสมกับงานที่ออกแบบ ผู้ออกแบบควรได้พิจารณาถึงรูปแบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร รูปร่างลักษณะของตัวอักษร การกำหนดระยะห่างและพื้นที่ว่าง การกำหนดสี และการจัดวางตำแหน่งให้มีความสมดุลเหมาะสมพอดี
          2. ภาพและส่วนประกอบตกแต่งภาพ               ภาพและส่วนประกอบตกแ่ต่งภาพ ที่ต้องการเน้นให้เกิดคุณค่าทางความงาม ซึ่งจะทำหน้าที่ในการถ่ายทอดจินตนาการออกมาเป็นรูปแบบ และนำเสนอแนวคิดให้เป็นรูปธรรมดาตามความคิดของตน เพื่อต้องการให้เกิดประสิทธิผลในการสื่อสารมากที่สุด
งานออกแบบที่ดีควรนำภาพมาใช้ให้เหมาะสมกับโอกาสและหน้าที่อย่างกลมกลืน คือ
                    2.1 เมื่อต้องการดึงดูดความสนใจ
                    2.2 เมื่อต้องการใช้ประกอบการอธิบายความรู้
                    2.3 เมื่อต้องการคำอธิบายความคิดรวบยอด
                    2.4 เมื่อต้องการอ้างอิงสิ่งที่ปรากฏขึ้นจริง
                    2.5 เมื่อต้องการใช้ประกอบข้อมูลทางสถิติ 


คุณค่าและความสำัคญของการออกแบบงานกราฟิกและสื่อ

     งานกราฟิกที่ดีจะต้องทำให้เห็นถึงความคิดในการออกแบบเป็นเลิศ มีคุณค่าและความสำคัญในตัวเองที่แสดงออกได้ ดังนี้ 
          1. เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ถูกต้องและชัดเจน
          2. สามารถทำหน้าที่เป็นสื่อเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
          3. ช่วยทำให้งานเกิดความน่าสนใจ ประทับใจ และน่าเชื่อถือแก่ผู้พบเห็น
          4. ช่วยให้เกิดการกระตุ้นทางความคิด และการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว
          5. ช่วยสร้างสรรค์งานสัญลักษณ์ทางสังคม และพัฒนาระบบการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 


การวางแผนการผลิตและขั้นตอนในการออกแบบงานกราฟิกและสื่อ     ในการออกแบบงานกราฟิก ควรมีการวางแผนและกำหนดขั้นตอนการทำงานให้เป็นระบบ เพื่อจะทำให้งานที่ผลิตขึ้นมีคุณภาพดี โดยคำนึงถึงขั้นตอนที่ใช้ในการผลิตและการออกแบบ ดังนี้
          1. ขั้นการคิด ต้องคิดว่า จะทำอะไร ทำเพื่อใคร ทำอย่างไร และการออกแบบอย่างไร
          2. ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูล เป็นการเสาะหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้มากที่สุ รวมถึงวัสดุอุปกรณ์ด้วย
          3. ขั้นการร่างหรือสร้างหุ่นจำลอง โดยการเขียนภาพคร่าว ๆ หลาย ๆ ภาพ แล้วเลือกเอาภาพที่ดีที่สุด
          4. ขั้นการลงมือสร้างงาน เป็นการขยายผลงานด้วยวัสดุและวิธีการที่เตรียมไว้
          5. หลักที่ควรพิจารณาเกี่ยวกับการใช้สี

     สีมีส่วนช่วยชักจูงให้เกิดความรู้สึกสนใจและเข้าใจถึงคุณค่าของภาพ สามารถตอบสนอง แรงกระตุ้นได้ตามวัตถุประสงค์ของงานออกแบบในงานด้านกราฟิกจะเกี่ยวข้องกับทฤษฎีสีตามหลักวิชาเคมี ซึ่งกำหนดแม่สีไว้เป็น 3 สี คือ แดง เหลือง น้ำเงิน 
     บางทีอาจใช้ว่าเป็นทฤษฎีสีของช่างเขียน เพื่อนำมาใช้สร้างสรรค์งานกราฟิกให้มีคุณค่ามากขึ้นกลุ่มสีที่ปรากฎให้ความรู้สึกที่แตกต่างกันเรียกว่า วรรณะของสี ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 วรรณะ คือ วรรณะสีร้อน จะให้ความรู้สึกสดใส ร้อนแรง ฉูดฉาด รื่นเริง ได้แก่ สีน้ำเงิน ม่วง เขียว และสีที่ใกล้เคียง เนื่องจากคนแต่ละวัยมีความสนใจกลุ่มสีที่แตกต่างกัน เช่น เด็กเล็ก ๆ จะสนใจสีสดเข้ม สะดุดตา ไม่ชอบสีอ่อน
     เมื่อมีอายุมากขึ้นจะไม่ชอบสีสดใสมากๆ แต่นิยมกลุ่มสีหวานนุ่มนวล ดังนั้น การวางโครงสีในการออกแบบงานกราฟิกและสื่อในเชิงพาณิชย์ จึงต้องพิจารณาเรื่อวัยของกลุ่มเป้าหมายเป็นสำคัญ และควรพิจารณาเกี่ยวกับการใช้สีในทางจิตวิทยาด้วย ดังนี้
          1. ใช้สีสดใสสำหรับกระตุ้นให้เห็นเด่นชัด เหมาะสำหรับการทำสื่อเพื่อการโฆษณา
          2. การออกแบบงานเชิงพาณิชย์ศิลป์ งานกราฟิกต่าง ๆ อาจไม่จำเป็นต้องใช้สีเสมอไปให้ดูที่ความเหมาะสมด้วย
          3. ควรใช้สีให้เหมาะสมกับวัยของผู้บริโภค
          4. การใช้สีมากเกินไป ไม่เกิดผลดีต่องานออกแบบ เพราะอาจทำให้ลดความเด่นชัดลง
          5. เมื่อใช้สีสดเข้มจับคู่กับสีอ่อนมาก ๆ จะทำใ้ห้ดูชัดเจนและมีชีวิตชีวาน่าสนใจขึ้น
          6. ควรหลีกเลี่ยงการใช้สีพื้นในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ที่มีพื่้นที่ว่างมาก ๆ เพราะไม่ทำให้เกิดผลในการเร้าใจ
          7. การใช้สีบนตัวอักษร ข้อความ ถ้าต้องการให้ชัดเจน อ่านง่าย ควรงดการใ้ช้สีตรงกันข้ามในปริมาณเท่า ๆ กัน บนพื้นที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน 


ประเภทของงานออกแบบกราฟิกและสื่อ         
     การออกแบบงานกราฟิกใด ๆ ย่อมมีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่แตกต่างกันไป ลักษณะเฉพาะงานหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ของงานและวิธีการดำเนินงาน ต้องสอดคล้องกับปัจจัยทุกด้าน ในการสร้างงานออกแบบจึงควรศึกษาถึงองค์ประกอบสำคัญหลาย ๆ ด้าน แนวทางในการคิดงานกราฟิกจะแปรเปลี่ยนไปตามลักษณะของสื่อ หรืองานแต่ละประเภทที่มีข้อกำหนดเฉพาะ โดยจะสามารถจัดหมวดหมู่ได้ ดังนี้ 
          1. งานกราฟิกบนสื่อโฆษณาสิ่งพิมพ์
               สื่อโฆษณามีหลายประเภทโดยเฉพาะสื่อทางด้านสิ่งพิมพ์ ปัจจุบันวงการธุรกิจนิยมใช้สื่อประเภทนี้กันค่อนข้างสูง เพื่อช่วยส่งเสริมการขาย เพิ่มการตลาด หรือในบางที่ก็ใช้เป็นตัวขายสินค้าก็มี วิธีในการสร้างสรรค์สื่อสิ่งพิมพ์มีมากมาย และตัวสืื่อสิ่งพิมพ์โฆษณาเองก็มีการพัฒนาตัวเองให้ทันกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เข้ามา จึงช่วยส่งเสริมแนวทางในการออกแบบงานกราฟิกและเทคนิคในการออกแบบได้เป็นอย่างดี สื่อโฆษณาสิ่งพิมพ์นี้ก็ไม่ได้ยุ่งยากเหมือนแต่ก่อน สื่อโฆษณาที่ใช้กันมากและเป็นเรื่องรูปแบบการออกแบบสื่อที่น่าสนใจ ได้แก่ 
                    1.1 แผ่นป้ายโฆษณา (Poster) 
                         แผ่นป้ายโฆษณาเป็นสื่อที่มีบทบาทอย่างมากในการประชาสัมพันธ์ เพราะเป็นสื่อที่สามารถเผยแพร่ได้สะดวก กว้างขวางและสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ทุกพื้นที่ สื่อสารกับผู้บริโภคได้ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษา มีความยืดหยุ่นในตัวของสื่อได้เป็นอย่างดี
แผ่นป้ายโฆษณาสามารถนำเสนอข้อมูลรายละเอียดได้มากพอสมควร ผลิตง่าย ใช้สะดวก จึงเป็นที่นิยมตลอดมา การออกแบบแผ่นป้ายโฆษณาควรคำนึงถึงองค์ประกอบ 4 อย่าง ดังนี้
                               - ต้องเป็นแผ่นเดียว สามารถปะติดลงบนพื้นผิวใดก็ได้
                               - ต้องมีข้อความประกอบด้วยเสมอ
                               - ต้องปิดไว้ในที่สาธารณะ
                               - ต้องผลิตขึ้นเป็นจำนวนมากได้
                          นอกจากนี้การออกแบบควรคำนึงถึงหลักพื้นฐานที่จะทำให้สื่อแสดงบทบาทอย่างเต็มที่ โดยสื่อแผ่นป้ายโฆษณาที่ดีควรจะต้องสนองแนวคิดหลัก 5 ประการได้แ่ก่
                               - จะต้องตอบสนองจุดประสงค์ในการสื่อความหมายได้อย่างเต็มที่
                               - จะต้องมีความชัดเจนในภาพลักษณ์ และข้อความที่ใช้ต้องกระจ่างชัด ขนาดพอดี
                               - รูปภาพและข้อความที่นำเสนอควรให้มีความสอดคล้องสันพันธ์กัน
                               - จะต้องสามารถเข้าใจ ดึงดูดความสนใจกลุ่มเป้าหมายได้มากที่สุด
                               - ต้องมีความกะทัดรัดและแสดงแนวคิดหลักเพียงอย่างเดียว 
                    1.2 แผ่นพับ (Floders) 
                         แผ่นพับจัดว่าเป็นสิ่งพิมพ์ประเภทที่ผู้ผลิตส่งตรง ถึงผู้บริโภคทั้งวิธีการทางไปรษณีย์ และแจกตามสถานที่ต่าง ๆ ไปยังกลุ่มเป้าหมายได้ตามต้องการ ลักษณะเด่นของแผ่นพับคือ มีขนาดเล็ก หยิบง่าย ให้ข้อมูลรายละเอียดได้มากพอสมควร หลากหลายและสวยงามวิธีการออกแบบแผ่นพับสามารถพับได้หลายแบบ การพับแบบต่าง ๆ จะทำให้ภาพลักษณ์ของสื่อเปลี่ยนไป แผ่นพับเมื่อพับแล้วจะมีหลายหน้า อย่างน้อย 4 หน้า จนถึง 80 หน้าแต่ส่วนใหญ่นิยมพับอย่างมาก 16 หน้า และไม่นิยมใส่เลขหน้า ในการออกแบบงานกราฟิกในแต่ละหน้า ไม่ควรให้รกหรือแน่นจนเกินไป การจัดระเบียบของข้อความและจัดวางภาพประกอบต้องให้สอดคล้องสัมพันธ์กัน ใช้หลักการทางองค์ประกอบศิลป์ช่วยแก้ปัญหา และต้องพิถีพิถันมากเป็นพิเศษ เพราะผู้ดูมีโอกาสพิจารณาได้นานและอาจดูได้หลายครั้ง แผ่นพับควรพับง่ายและีมีความน่าสนใจ 
                    1.3 แผ่นปลิว (Leaflets) 
                         แผ่นปลิวเป็นสื่อที่มีค่าใช้จ่ายในการผลิตถูกที่สุด สามารถผลิตได้ครั้งละมาก ๆ จึงได้รับความนิยมในการนำมาเป็นสื่อเพื่อเป็นการสื่อสาร เพื่อให้ถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างกว้างขวาง รูปบบและลีลาของการออกแบบนำเสนอสาระข้อมูลของแผ่นปลิวไม่มีจำกัดตายตัว นิยมใช้กระดาษขนาด A4 
                    1.4 บัตรเชิญ (Cards) 
                         บัตรเชิญเป็นสื่อโฆษณาอีกประเภทหนึ่งที่มีบทบาทในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์การออกแบบงานกราฟิกด้านบัตรเชิญมีอย่างกว้างขวาง สามารถสร้างสรรค์รูปแบบใหม่ ๆ ที่จะท้าทายให้ผู้ได้รับเชิญเกิดความรู้สึกอยากรู้อยากเห็น อยากสัมผัส บัตรเชิญเรียกได้ว่างเป็นสื่อเฉพาะกิจ ใช้ในโอกาสที่สำคัญ ดังนั้นการออกแบบบัตรเชิญจะต้องมีความประณีต สวยงาม มีคุณค่าสูงในด้านศิลปะ เนื่องจากต้องการดึงดูดชักจูงให้เกิดความรู้สึกคล้อยตาม การออกแบบบัตรเชิญสามารถตอบสรองแนวคิดสร้างสรรค์ของผู้ออกแบบได้เป็นอย่างดี อาจมีลักษณะเป็นแผ่นพับ 2 พับ หรือทำเป็นแบบสามมิติก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสมกับงานนั้น ๆ 
          2. งานกราิฟิกบรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์มีหน้าที่หลักคือเป็นตัวภาชนะสำหรับบรรจุสินค้า มีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปตามลักษณะของสินค้า เช่น หีบ ห่อ กล่อง ขวด ลัง กระป๋อง ฯลฯ บรรจุภัณฑ์จะมีขนาดต่าง ๆ ตามขนาดที่บรรจุสินค้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 3 กลุ่ม คือ
               2.1 บรรจุภัณฑ์สำหรับค้าปลีก มักออกแบบสวยงาม สะดวกในการใช้สอย น่าใช้ บางชนิดจะเน้นความสวยงามเป็นพิเศษ จะมีรายละเอียดของสินค้าบรรจุอยู่ภายใน
               2.2 บรรจุภัณฑ์เพื่อการค้าส่ง เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบสำหรับบรรจุสินค้าจำนวนมาก ๆ การกำหนดรายละเอียดจะแตกต่างออกไป
               2.3 บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง จะเน้นในเรื่องความสะดวก ความปลอดภัย และความประหยัดในการขนส่ง การออกแบบฉลากของบรรจุภัณฑ์จะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อกำหนดหลายอย่าง นักออกแบบมักจะต้องสร้างภาพลักษณ์ของตัวสินค้าให้เกิดความน่าเชื่อถือ สวยงาม ส่วนการออกแบบหีบห่อบรรจุภัณฑ์ก็มีจุดประสงค์อย่างเดียวกันกับฉลากสินค้า แต่มีจุดเด่นคือ เพื่อความสะดวกในการขนส่ง 
          3. งานกราฟิกบนเครื่องหมายและสัญลักษณ์
               สื่อที่เป็นภาพเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ เป็นสื่อที่มีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจำวัน ถ้าเรามองไปรอบ ๆ ตัวจะเห็นสื่อที่เป็นภาพเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ปรากฎอยู่ทัวไปการออกแบบสัญลักษณ์ นักออกแบบจะต้องใช้ความรู้ความสามารถอย่างยิ่งในการวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่ต้องการสื่อความหมาย และสังเคราะห์ให้เป็นรูปลักษณ์ที่เป็นสิ่งแทนอันสามารถจะบอกได้ถึงความหมาย ทั้งยังต้องใ้ช้ความสามารถในการเขียนภาพหรือผลิตภาพ สัญลักษณ์ให้ประณีต คมชัด เพื่อสื่อความหมายไ้ด้อย่างถูกต้องชัดเจน
    ที่มา: http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/366-00/

องค์ความรู้สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม: แนวโน้มการออกแบบปี 2015

องค์ความรู้สู่การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม: แนวโน้มการออกแบบปี 2015: https://dochub.com/vongthongkienvong/WqK1Dv/trend_2015_by_tcdc_web_pc ที่มา:http://www.tcdc.or.th/projects/trend/

แนวโน้มการออกแบบปี 2015



https://dochub.com/vongthongkienvong/WqK1Dv/trend_2015_by_tcdc_web_pc
ที่มา:http://www.tcdc.or.th/projects/trend/